แผนกิจกรรมการศึกษา
วิธีการทางสังคมศาสตร์
ตลอดจนตระหนักถึงความสำคัญของสังคมศาสตร์ที่มีต่อสังคม
การพัฒนาหลักสูตรสังคมศึกษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การสอนวิชาสังคมศึกษา
เพื่อนำมาใช้พัฒนาการเรียนการสอนในห้องเรียนให้มีประสิทธิภาพ
สังคมศึกษา
ชุดวิชา
22713 สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
(Foundations and Methodologies in Social Studies
Education)
1. รายละเอียดชุดวิชา
1.1 คำอธิบายชุดวิชา
ปรัชญา ธรรมชาติ
โครงสร้าง และเนื้อหาสาระของสังคมศาสตร์ การพัฒนาวิธีการทางสังคมศาสตร์
การประยุกต์เนื้อหาสาระของสังคมศาสตร์ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาหลักสูตรสังคมศึกษา
ปัจจัยที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลต่อการเป็นพลวัตของวิชาสังคมศึกษา
แนวทางการพัฒนาหลักสูตรสังคมศึกษา การจัดระบบการเรียนการสอน
การเลือกวิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
และการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา
การประเมินผลการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา
รวมทั้งการศึกษาและติดตามความเคลื่อนไหวและแนวโน้มของวิชาสังคมศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
1.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา
ธรรมชาติ โครงสร้าง เนื้อหาสาระ และ
2. เพื่อให้สามารถวิดเคราะห์แนวคิด
และเนื้อหาสาระของสังคมศาสตร์ อันจะนำไปสู่
3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ
ตลอดจนสามารถวิเคราะห์ลักษณะที่เป็นพลวัตของสังคมศึกษา
และสามารถปรับเปลี่ยนหลักสูตรและวิธีการสอนที่เหมาะสอนและสอดคล้องกับ
4. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ
ตลอดจนสามารถจัดระบบการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา การเลือกวิธีการสอน
การจัดกิจกรรม และสื่อการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
5. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ
ตลอดจนติดตามความสำคัญและแนวโน้มของการเรียน
1.3 รายชื่อหน่วยการสอน
หน่วยที่ 1 สังคมศาสตร์กับสังคมศึกษา
หน่วยที่ 2 ภูมิศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสังคมศึกษา
หน่วยที่ 3 เศรษฐศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสังคมศึกษา
หน่วยที่ 4 ประวัติศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสังคมศึกษา
หน่วยที่ 5 จริยศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสังคมศึกษา
หน่วยที่ 6 สังคมวิทยา – มานุษยวิทยากับการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
หน่วยที่ 7 รัฐศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสังคมศึกษา
หน่วยที่ 8 สิ่งแวดล้อมศึกษากับการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสังคมศึกษา
หน่วยที่ 9 ระบบการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสังคมศึกษา
หน่วยที่ 10 พลวัตของสังคมศึกษาและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสังคมศึกษา
หน่วยที่ 11 การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา (1)
หน่วยที่ 12 การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา (2)
หน่วยที่ 13 สื่อกับการพัฒนาการเรียนการสอนสังคมศึกษา
หน่วยที่ 14 การประเมินการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา
หน่วยที่ 15 การพัฒนาวิชาชีพครูสังคมศึกษา
2. วิธีการศึกษาชุดวิชา
ในการศึกษาชุดวิชา 22713
สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
ซึ่งเป็นวิชาเฉพาะของวิชาเอกมัธยมศึกษา แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน
คณะกรรมการผลิตและบริหารชุดวิชาได้กำหนดวิธีการศึกษา
ชุดวิชาจากสื่อการศึกษาต่าง ๆ ดังนี้
ก.
แผนกิจกรรมการศึกษา
ข.
แนวการศึกษา
ค.
ประมวลสาระชุดวิชา
ง.
การสัมมนาเสริม
สื่อการศึกษาต่าง ๆ
เหล่านี้จะมีทั้งที่นักศึกษาจะต้องศึกษาด้วนตนเอง และการเข้ากลุ่มสัมมนา
ซึ่งจะขอแนะนำวิธีการศึกษา
เพื่อเป็นแนวให้นักศึกษาปฏิบัติดังต่อไปนี้
2.1 การเตรียมตัวของนักศึกษา
ระบบการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เป็นระบบการศึกษาทางไกล (Distance Education) ซึ่งการเรียนการสอนตามระบบนี้ตั้งอยู่บนพื้นฐานที่ว่า
การเรียนรู้นั้นจะเกิดขึ้นที่ไหน เมื่อใด ก็ย่อมได้
มิได้จำกัดอยู่ที่เวลา สถานที่ และโอกาส
ดังนั้นในการเรียนการสอนระบบนี้นักศึกษาจะต้องศึกษาหาความรู้และทำความเข้าใจจากสื่อต่าง
ๆ ที่มหาวิทยาลัยกำหนดให้อย่างมีระบบคือ นักศึกษาจะต้องกำหนดขั้นตอน
เวลาที่จะใช้ในการศึกษาว่าควรจะเป็นอย่างไร
และที่สำคัญนักศึกษาจะต้องมีระเบียบวินัยในตนเอง
สามารถควบคุมและบังคับตนเองให้ศึกษาและกระทำกิจกรรมตามที่กำหนดให้อย่างครบถ้วน
ซึ่งในการนี้นักศึกษาจะต้องเตรียมตัว
และจัดสภาพแวดล้อมของตัวนักศึกษาเองให้เอื้อต่อการศึกษาดังนี้
2.1.1 วางแผนศึกษาชุดวิชา 22713
สารัตถะและวิทยวิธีทางสังคมศึกษา
โดยประมวลกิจกรรมที่จะต้องปฏิบัติในระยะเวลาที่นักศึกษาจะต้องศึกษาด้วยตนเองตลอดภาคการศึกษาที่ 2/2545
ตั้งแต่วันที่16
ธันวาคม 2545 ถึง 25
เมษายน 2546 ซึ่งกิจกรรมที่จะต้องวางแผนปฏิบัติได้แก่
- ศึกษาประมวลสาระและแนวการศึกษาของชุดวิชา 22713
สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา จำนวน 12 ชั่วโมง / สัปดาห์
- ทำกิจกรรมตามที่กำหนด
- วางแผนเข้ารับการสัมมนาเสริมและการสัมมนาเข้มตามวัน เวลา ที่กำหนดให้
- ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลอื่น
2.1.2 จัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน นักศึกษาควรคำนึงถึงเรื่องการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน
ทั้งนี้เพราะสภาพแวดล้อมทางการเรียนที่เหมาะสมจะส่งผลให้นักศึกษาเรียนชุดวิชานี้ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ซึ่งนักศึกษาสามารถดำเนินการได้โดยลองสำรวจตนเองว่า
นักศึกษาจะสามารถเรียนรู้ได้ดีที่สุด โดยวิธีการใด
ในสภาพการณ์ใด แล้วพยายามจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
ก็จะทำให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี
2.2 วิธีการศึกษา
เพื่อให้การเรียนมีประสิทธิภาพ
นักศึกษาควรศึกษาประมวลสาระชุดวิชา ซึ่งเป็นเอกสาร
ที่บรรจุเนื้อหาสาระของแต่ละหน่วยการสอนอย่างละเอียด
โดยศึกษาควบคู่กับแผนกิจกรรมการศึกษาและแนวการศึกษา
ซึ่งจะมีลำดับการศึกษาขั้นตอนต่อไปนี้
2.2.1 ศึกษาแผนกิจกรรมการศึกษาในส่วนที่ 1
รายละเอียดชุดวิชา
และส่วนที่ 2
วิธีการศึกษาชุดวิชา
2.2.2
ศึกษาประมวลสาระชุดวิชากับแนวการศึกษาควบคู่กันไป
ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1) ศึกษาแผนผังแนวคิด
แผนการสอนประจำหน่วย และทำแบบประเมินผล
ตนเองก่อนเรียน พร้อมทั้งตรวจคำตอบจากแบบเฉลยในแนวการศึกษา
2) ศึกษาแผนการสอนประจำหน่วย
และแผนการสอนประจำตอนทั้งจากประมวลสาระชุดวิชา และแนวการศึกษา
3) ศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระของแต่ละเรื่องในประมวลสาระชุดวิชา
พร้อมทั้งศึกษาจากสาระสังเขปของแต่ละหัวเรื่องที่ปรากฏในแนวการศึกษา
4) ปฏิบัติกิจกรรมที่ปรากฏในท้ายเรื่องแต่ละเรื่องในแนวการศึกษา
พร้อมทั้งตรวจสอบคำตอบจากแนวตอบไปด้วย
5) ทำแบบประเมินผลตนเองหลังเรียน
ภายหลังจากศึกษาเนื้อหาในหน่วยนั้น ๆ จบแล้ว
2.2.3 ทำกิจกรรมตามงานที่คณะกรรมการผลิตและบริหารชุดวิชากำหนด
รายละเอียดของงานส่วนที่ 3 ของแผนกิจกรรมการศึกษา
2.2.4 ปฏิบัติตามตารางการเรียนที่กำหนดให้ ดังนี้
ตารางการเรียน
ภาคการศึกษา 2/2545
ชุดวิชา 22713 สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
สัปดาห์
หน่วยการสอน
การประเมิน
16 – 20 ธ.ค.
45
หน่วยที่ 1 สังคมศาสตร์กับสังคมศึกษา
21 – 26 ธ.ค. 45
หน่วยที่ 2 ภูมิศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคมศึกษา
27– 31 ธ.ค.
45
หน่วยที่ 3
เศรษฐศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคมศึกษา
1 –6 ม.ค.
46
หน่วยที่ 4 ประวัติศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคม
ศึกษา
7 – 12 ม.ค. 46
หน่วยที่ 5
จริยศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคมศึกษา
13 – 18 ม.ค. 46
หน่วยที่ 6
สังคมวิทยา – มานุษยวิทยากับ
การประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
สังคมศึกษา
19 – 24 ม.ค. 46
หน่วยที่ 7
รัฐศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคมศึกษา
25 –31 ม.ค.
46
หน่วยที่ 8 สิ่งแวดล้อมศึกษากับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคมศึกษา
สัมมนาเสริมครั้งที่ 1
1 –2 ก.พ. 2546
9.00 – 15.00 น.
3 – 5 ก.พ. 46
หน่วยที่ 9
ระบบกับการพัฒนาหลักสูตรและ
การเรียนการสอนสังคมศึกษา
6 - 9 ก.พ. 46
หน่วยที่ 10
พลวัตของวิชาสังคมศึกษาและ
การเรียนการสอนสังคมศึกษา
10 – 13 ก.พ.
46
หน่วยที่ 11
การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาสังคม
ศึกษา (1)
14 – 17 ก.พ.
46
หน่วยที่ 12
การพัฒนาการเรียนการสอนวิชา
สังคมศึกษา (2)
สัปดาห์
หน่วยการสอน
การประเมิน
18 – 22 ก.พ.
46
หน่วยที่ 13
สื่อกับการพัฒนาการเรียนการสอน
สังคมศึกษา
23 – 28 ก.พ. 46
หน่วยที่ 14
การประเมินการเรียนการสอนวิชา
สังคมศึกษา
1 - 7 มี.ค. 45
หน่วยที่ 15
การพัฒนาวิชาชีพครูสังคมศึกษา
สัมมนาเสริมครั้งที่ 2
8 – 9 มี.ค. 2546
9.00 – 15.00 น.
10 มี.ค. -
25 เม.ย. 46
เตรียมสอบปลายภาค
26 เม.ย. 45
สอบปลายภาค (9.00 –
12.00 น.)
ข้อสอบ อัตนัย 6
ข้อ
ตารางเรียนนี้เป็นเพียงข้อเสนอแนะ
นักศึกษาอาจปรับได้ตามความเหมาะสม โดยยึดการสัมมนาเสริม และการสอบปลายภาคเป็นหลัก
2.3 การสัมมนา
ในการเรียนชุดวิชา 22713
สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
นักศึกษาจะต้องเข้าร่วมการสัมมนาเสริม 2 ครั้ง ๆ ละ 10
ชั่วโมง ณ ศูนย์บริการการศึกษาที่มหาวิทยาลัยกำหนด และ
แจ้งให้นักศึกษาทราบ
2.3.1
การสัมมนาเสริมครั้งที่
1 วันที่ 1 –2
กุมภาพันธ์ 2546 เนื้อหาของการสัมมนาเสริมจะอยู่ในหน่วยการสอนที่ 1-8 ในหัวข้อ “แนวคิดเกี่ยวกับสังคมศาสตร์และการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสังคมศึกษา”
2.3.2
การสัมมนาเสริมครั้งที่
2 วันที่ 8 -9
มีนาคม 2546 เนื้อหาของการสัมมนาเสริมจะอยู่ในหน่วยการสอนที่ 9 - 15
ในหัวข้อ “หลักสูตรกับการเรียนการสอนสังคมศึกษา”
รายละเอียดของการสัมมนาเสริมจะปรากฏในตารางของการสัมมนาเสริม
ดังนี้
ตารางการสัมมนาเสริม ภาคการศึกษาที่
2/2545
ชุดวิชา 22713 สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
ครั้งที่
เวลา
วัน
9.00 - 9.30
น.
9.45 - 12.00
น.
13.00 – 15.00
น.
1
1 ก.พ.
46
ปฐมนิเทศชุดวิชา
สัมมนาเสริม เรื่อง “แนวคิดเกี่ยวกับสังคมศาสตร์และการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสังคมศึกษา”
(ผู้สอนสรุปสาระสำคัญและนำเสนอประเด็นเพื่อให้
นักศึกษาร่วมกันอภิปราย)
สัมมนาเสริมต่อ
2 ก.พ.
46
นักศึกษาเสนอ
ผลงานชิ้นที่ 1
เสนอผลงาน (ต่อ)
เสนอผลงาน (ต่อ)
2
8 มี.ค. 46
ผู้สอนตอบปัญหาของนักศึกษา
เกี่ยวกับการเรียนชุดวิชา และปัญหาที่เกี่ยวกับมหาวิทยาลัย
สัมมนาเสริมเรื่อง
“หลักสูตรกับการเรียนการสอนสังคมศึกษา”
สัมมนาเสริมต่อ
9 มี.ค.
46
นักศึกษาเสนอผลงาน
เสนอผลงาน (ต่อ)
เสนอผลงาน (ต่อ)
2.4 การประเมินการศึกษา
การประเมินการศึกษา
ชุดวิชา 22713 สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
จะประเมิน
ในรายละเอียดดังต่อไปนี้
2.4.1 ประเมินจากการเข้าร่วมสัมมนา และงานที่กำหนดให้ทำ ร้อยละ 40
โดยจะประเมินเป็น 2 ส่วนคือ
1) ประเมินจากการเข้าร่วมสัมมนาในรายละเอียดดังนี้
-
การมีส่วนร่วมในการอภิปรายเกี่ยวกับสาระที่ได้ศึกษาจากประมวล
สาระชุดวิชา
-
ผลที่ได้จากการสัมมนาที่ส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับประเด็น
การสัมมนา
และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในแต่ละครั้งของ
การสัมมนาเสริม
2) ประเมินงานที่กำหนดให้ทำ ซึ่งจะประเมินจาก
-
เนื้อหาสาระ
จะพิจารณาจากความถูกต้อง มีความคิดที่เป็นระบบ
ต่อเนื่อง
รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์
-
การนำเสนอ
จะพิจารณาจากวิธีการนำเสนอวิธี การนำเสนอ จะต้องอยู่
ในเกณฑ์ดี การนำเสนอที่ตรงตามสาระน่าสนใจ
ใช้เวลาเหมาะสมกับ
เนื้อหาสาระตามเวลาที่กำหนดให้
และการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วม
สัมมนาได้วิพากษ์วิจารณ์
2.4.2 ประเมินจากการสอบปลายภาคการศึกษาที่ 2/2545
ร้อยละ 60 โดยจะประเมินจากการสอบข้อสอบอัตนัยจำนวน 6
ข้อ
3. รายละเอียดของงาน
งานที่นักศึกษาจะต้องทำในการเรียนชุดวิชา 22713
สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
มีรายละเอียดดังนี้
3.1 ชิ้นงาน งานที่นักศึกษาจะต้องทำมี 2
ชิ้น คือ
ชิ้นที่ 1 การสร้างสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
ขั้นตอน
1. ศึกษาปัญหา
1.1
สำรวจปัญหา
ให้สำรวจปัญหาของนักเรียนในชั้นปีที่ท่านสอน
หรือ ชั้นปีที่ท่านสนใจจะจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ โดยสำรวจปัญหาในด้าน
1) คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
2) ทักษะกระบวนการคิด
3) ทักษะทางสังคม
1.2
รายงานผลการสำรวจปัญหา โดยนำเสนอ
1) วิธีการ และ เครื่องมือในการสำรวจ
2) ผลการสำรวจ
1.3
แนวทางการพัฒนา
นำเสนอแนวทางการพัฒนา
คุณธรรมฯ ทักษะกระบวนการคิด และทักษะ
ทางสังคม ในข้อ 1.2) โดยนำเสนอ
1) วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องของแต่ละด้าน ประมาณด้านละ 2 หน้า
2) แนวทางการพัฒนาที่ท่านเลือกในการพัฒนาแต่ละด้าน
2. การพัฒนาหลักสูตรเพื่อแก้ไขปัญหา
2.1
ศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของช่วงชั้น
ศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ของช่วงชั้นที่จะจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางในข้อ 1.3 โดยเลือกสาระหลัก และมาตรฐานการเรียนรู้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องมาจัดวางเรียงให้ครบ (มาตรฐาน ส 1.1 - 5.2)
2.2 กำหนดมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ของช่วงชั้น
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ของช่วงชั้นที่เลือกไว้ในข้อ
2.1 แล้วกำหนดเป็นมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ช่วงชั้นที่สอดคล้องกับแนวทางในข้อ 1.3
2.3 กำหนดมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ของชั้นปี
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ของช่วงชั้นที่กำหนดไว้ในข้อ
2.2 แล้วกำหนดเป็นมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ชั้นปีที่สอดคล้องกับแนวทางในข้อ 1.3
2.4 กำหนดรายวิชา
นำมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ในข้อ 2.3 มากำหนดเป็นรายวิชาระดับรายปี
/ภาคการศึกษาตามระดับชั้นที่จะจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ทั้งนี้จะต้องเป็นรายวิชาที่บูรณาการทั้ง 5
สาระหลัก โดยนำเสนอ
1) ชื่อรายวิชา
2) คำอธิบายรายวิชา
2.5 กำหนดหน่วยการเรียนของรายวิชา
ให้นำรายวิชาที่กำหนดไว้ในข้อ 2.4 มาจัดแบ่งเป็นหน่วยการเรียนแบบบูรณการ ซึ่งแต่ละหน่วยจะต้องบูรณาการ 5
สาระหลัก
โดยจะต้องมีหน่วยที่มีความยาว 6-8 คาบ อยู่ด้วย
3. นำเสนอภาคผนวก ประกอบด้วย
1)
แบบสำรวจ
2)
ผลการสำรวจ
ชิ้นที่ 2
การจัดการเรียนการสอนที่นักเรียนเป็นศูนย์กลาง
ขั้นตอน
1. เลือกหน่วยบูรณาการในงานชิ้นที่ 1
ที่ใช้ชั่วโมงการสอนประมาณ
6 - 8 คาบ
เพื่อจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ระดับหน่วย
2. นำเสนอแผนผังบูรณาการของหน่วยในข้อ 1
3. เขียนรายละเอียดของแผนการจัดการเรียนรู้ในหัวข้อต่อไปนี้
3.1 ชื่อหน่วยบูรณาการแนวคิด
3.2 จุดประสงค์
3.3 เค้าโครงเนื้อหา
3.4 กิจกรรมการเรียนการสอน โดย
1) นำนวัตกรรมการเรียนการสอนสังคมศึกษาในปัจจุบันมาใช้ในการจัดกิจกรรม
2) ระบุว่า กิจกรรมใดพัฒนา คุณธรรมฯ
ทักษะกระบวนการคิด
ทักษะสังคม
3.5 สภาพแวดล้อม โดยระบุว่าสภาพแวดล้อมใดพัฒนา คุณธรรมฯ
ทักษะกระบวนการคิด ทักษะสังคม
3.6 สื่อการสอน
โดยระบุว่าสื่อการสอนใดพัฒนา
คุณธรรมฯ ทักษะกระบวน
การคิด ทักษะสังคม
3.7 การประเมินผล โดยระบุว่าการประเมินผลใดพัฒนาคุณธรรมฯ ทักษะ
กระบวนการคิด ทักษะสังคม
4. นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดทำแล้ว
มาจัดทำ “Learning Package” ซึ่งประกอบด้วยแผนการสอน
แผนการเรียน สื่อกิจกรรมและแบบวัดประเมินผล
5. นำ “Learning Package” ที่จัดทำแล้วไปทดลองใช้ในสถานการณ์จริง
6. เขียนรายงานผลการทดลองใช้อย่างละเอียด
โดยนำเสนอ
1) กลุ่มตัวอย่าง
2) วิธีการ
3) ผลการทดลอง ซึ่งประกอบด้วยผลการประเมินก่อนเรียน - หลังเรียน
ของแต่ละด้าน
6. ปัญหาและข้อเสนอแนะ
หมายเหตุ จัดทำสำเนาแผนการสอนระดับหน่วย และรายงานผลการทดลองใช้ “Learning Package” มา 15
ชุด
ประกอบการสัมมนาเสริม
3.2 การส่งงาน
3.2.1 นักศึกษาจะต้องถือปฏิบัติในกำหนดการส่งงานอย่างเคร่งครัด ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1) งานชิ้นที่ 1
ส่งในวันแรกที่เข้ารับการสัมมนาเสริมครั้งที่ 1
( วันที่ 1 –2 กุมภาพันธ์ 2546)
2) งานชิ้นที่ 2
ส่งในวันแรกที่เข้ารับการสัมมนาเสริมครั้งที่ 2
( วันที่ 8 - 9 มีนาคม 2546)
3.2.2 นักศึกษาจะต้องพิมพ์งานลงในกระดาษ A4 โดยให้มีใบปะหน้าตามแบบฟอร์ม
(ดังแบบ) และสำเนางานชิ้นละ 15 ชุด โดยนำมาแจกให้นักศึกษาและอาจารย์ในกลุ่มเพื่อ
การสัมมนาเสริมแต่ละครั้ง
3.3 การเตรียมนำเสนอผลงาน
ในการเสนอผลงานของนักศึกษาในการสัมมนาเสริมควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
3.3.1 เตรียมสิ่งที่จะนำมาประกอบการเสนอผลงาน
เช่น แผ่นใส แผนภูมิ เทปกาว
3.3.2 เตรียมประเด็นที่จะนำเสนอด้วยวาจา
และซักซ้อมล่วงหน้าภายในเวลาคนละประมาณ 30 นาที โดยมีกิจกรรมในรายละเอียดดังนี้
-
นักศึกษาเสนอผลงานคนละประมาณ 15
นาที
- ผู้เข้ารับการสัมมนาเสริม อภิปราย ซักถาม
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นประมาณ 10 นาที
-
อาจารย์ผู้สอนให้ความคิดเห็น 5
นาที
3.3.3 นักศึกษาควรเตรียมตัวเป็นอย่างดี
เพื่อตอบประเด็นคำถามที่คาดว่าอาจารย์สัมมนาเสริม และเพื่อนนักศึกษาจะซักถาม
เพื่อที่จะสามารถตอบได้อย่างคล่องแคล่ว
ภาคแผนก
แบบฟอร์มใบปะหน้าชิ้นงาน
retrieved from www.stou.ac.th/Thai/Grad_Stdy/Schools/
วิธีการทางสังคมศาสตร์ ตลอดจนตระหนักถึงความสำคัญของสังคมศาสตร์ที่มีต่อสังคม
การพัฒนาหลักสูตรสังคมศึกษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การสอนวิชาสังคมศึกษา เพื่อนำมาใช้พัฒนาการเรียนการสอนในห้องเรียนให้มีประสิทธิภาพ
สังคมศึกษา
2. วิธีการศึกษาชุดวิชา
ในการศึกษาชุดวิชา 22713
สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
ซึ่งเป็นวิชาเฉพาะของวิชาเอกมัธยมศึกษา แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน
คณะกรรมการผลิตและบริหารชุดวิชาได้กำหนดวิธีการศึกษา
ชุดวิชาจากสื่อการศึกษาต่าง ๆ ดังนี้
ชุดวิชาจากสื่อการศึกษาต่าง ๆ ดังนี้
ก.
แผนกิจกรรมการศึกษา
ข.
แนวการศึกษา
ค.
ประมวลสาระชุดวิชา
ง.
การสัมมนาเสริม
สื่อการศึกษาต่าง ๆ
เหล่านี้จะมีทั้งที่นักศึกษาจะต้องศึกษาด้วนตนเอง และการเข้ากลุ่มสัมมนา
ซึ่งจะขอแนะนำวิธีการศึกษา เพื่อเป็นแนวให้นักศึกษาปฏิบัติดังต่อไปนี้
ซึ่งจะขอแนะนำวิธีการศึกษา เพื่อเป็นแนวให้นักศึกษาปฏิบัติดังต่อไปนี้
2.1 การเตรียมตัวของนักศึกษา
ระบบการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เป็นระบบการศึกษาทางไกล (Distance Education) ซึ่งการเรียนการสอนตามระบบนี้ตั้งอยู่บนพื้นฐานที่ว่า
การเรียนรู้นั้นจะเกิดขึ้นที่ไหน เมื่อใด ก็ย่อมได้ มิได้จำกัดอยู่ที่เวลา สถานที่ และโอกาส ดังนั้นในการเรียนการสอนระบบนี้นักศึกษาจะต้องศึกษาหาความรู้และทำความเข้าใจจากสื่อต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยกำหนดให้อย่างมีระบบคือ นักศึกษาจะต้องกำหนดขั้นตอน เวลาที่จะใช้ในการศึกษาว่าควรจะเป็นอย่างไร และที่สำคัญนักศึกษาจะต้องมีระเบียบวินัยในตนเอง สามารถควบคุมและบังคับตนเองให้ศึกษาและกระทำกิจกรรมตามที่กำหนดให้อย่างครบถ้วน ซึ่งในการนี้นักศึกษาจะต้องเตรียมตัว และจัดสภาพแวดล้อมของตัวนักศึกษาเองให้เอื้อต่อการศึกษาดังนี้
การเรียนรู้นั้นจะเกิดขึ้นที่ไหน เมื่อใด ก็ย่อมได้ มิได้จำกัดอยู่ที่เวลา สถานที่ และโอกาส ดังนั้นในการเรียนการสอนระบบนี้นักศึกษาจะต้องศึกษาหาความรู้และทำความเข้าใจจากสื่อต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยกำหนดให้อย่างมีระบบคือ นักศึกษาจะต้องกำหนดขั้นตอน เวลาที่จะใช้ในการศึกษาว่าควรจะเป็นอย่างไร และที่สำคัญนักศึกษาจะต้องมีระเบียบวินัยในตนเอง สามารถควบคุมและบังคับตนเองให้ศึกษาและกระทำกิจกรรมตามที่กำหนดให้อย่างครบถ้วน ซึ่งในการนี้นักศึกษาจะต้องเตรียมตัว และจัดสภาพแวดล้อมของตัวนักศึกษาเองให้เอื้อต่อการศึกษาดังนี้
2.1.1 วางแผนศึกษาชุดวิชา 22713
สารัตถะและวิทยวิธีทางสังคมศึกษา
โดยประมวลกิจกรรมที่จะต้องปฏิบัติในระยะเวลาที่นักศึกษาจะต้องศึกษาด้วยตนเองตลอดภาคการศึกษาที่ 2/2545
ตั้งแต่วันที่16
ธันวาคม 2545 ถึง 25
เมษายน 2546 ซึ่งกิจกรรมที่จะต้องวางแผนปฏิบัติได้แก่
- ศึกษาประมวลสาระและแนวการศึกษาของชุดวิชา 22713
สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา จำนวน 12 ชั่วโมง / สัปดาห์
- ทำกิจกรรมตามที่กำหนด
- วางแผนเข้ารับการสัมมนาเสริมและการสัมมนาเข้มตามวัน เวลา ที่กำหนดให้
- ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลอื่น
2.1.2 จัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน นักศึกษาควรคำนึงถึงเรื่องการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน
ทั้งนี้เพราะสภาพแวดล้อมทางการเรียนที่เหมาะสมจะส่งผลให้นักศึกษาเรียนชุดวิชานี้ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ซึ่งนักศึกษาสามารถดำเนินการได้โดยลองสำรวจตนเองว่า นักศึกษาจะสามารถเรียนรู้ได้ดีที่สุด โดยวิธีการใด ในสภาพการณ์ใด แล้วพยายามจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ก็จะทำให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี
มีประสิทธิภาพ ซึ่งนักศึกษาสามารถดำเนินการได้โดยลองสำรวจตนเองว่า นักศึกษาจะสามารถเรียนรู้ได้ดีที่สุด โดยวิธีการใด ในสภาพการณ์ใด แล้วพยายามจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ก็จะทำให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี
2.2 วิธีการศึกษา
เพื่อให้การเรียนมีประสิทธิภาพ
นักศึกษาควรศึกษาประมวลสาระชุดวิชา ซึ่งเป็นเอกสาร
ที่บรรจุเนื้อหาสาระของแต่ละหน่วยการสอนอย่างละเอียด โดยศึกษาควบคู่กับแผนกิจกรรมการศึกษาและแนวการศึกษา ซึ่งจะมีลำดับการศึกษาขั้นตอนต่อไปนี้
ที่บรรจุเนื้อหาสาระของแต่ละหน่วยการสอนอย่างละเอียด โดยศึกษาควบคู่กับแผนกิจกรรมการศึกษาและแนวการศึกษา ซึ่งจะมีลำดับการศึกษาขั้นตอนต่อไปนี้
2.2.1 ศึกษาแผนกิจกรรมการศึกษาในส่วนที่ 1
รายละเอียดชุดวิชา
และส่วนที่ 2
วิธีการศึกษาชุดวิชา
วิธีการศึกษาชุดวิชา
2.2.2
ศึกษาประมวลสาระชุดวิชากับแนวการศึกษาควบคู่กันไป
ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1) ศึกษาแผนผังแนวคิด
แผนการสอนประจำหน่วย และทำแบบประเมินผล
ตนเองก่อนเรียน พร้อมทั้งตรวจคำตอบจากแบบเฉลยในแนวการศึกษา
ตนเองก่อนเรียน พร้อมทั้งตรวจคำตอบจากแบบเฉลยในแนวการศึกษา
2) ศึกษาแผนการสอนประจำหน่วย
และแผนการสอนประจำตอนทั้งจากประมวลสาระชุดวิชา และแนวการศึกษา
3) ศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระของแต่ละเรื่องในประมวลสาระชุดวิชา
พร้อมทั้งศึกษาจากสาระสังเขปของแต่ละหัวเรื่องที่ปรากฏในแนวการศึกษา
4) ปฏิบัติกิจกรรมที่ปรากฏในท้ายเรื่องแต่ละเรื่องในแนวการศึกษา
พร้อมทั้งตรวจสอบคำตอบจากแนวตอบไปด้วย
5) ทำแบบประเมินผลตนเองหลังเรียน
ภายหลังจากศึกษาเนื้อหาในหน่วยนั้น ๆ จบแล้ว
2.2.3 ทำกิจกรรมตามงานที่คณะกรรมการผลิตและบริหารชุดวิชากำหนด
รายละเอียดของงานส่วนที่ 3 ของแผนกิจกรรมการศึกษา
2.2.4 ปฏิบัติตามตารางการเรียนที่กำหนดให้ ดังนี้
ตารางการเรียน
ภาคการศึกษา 2/2545
ชุดวิชา 22713 สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
สัปดาห์
|
หน่วยการสอน
|
การประเมิน
|
16 – 20 ธ.ค.
45
|
หน่วยที่ 1 สังคมศาสตร์กับสังคมศึกษา
|
|
21 – 26 ธ.ค. 45
|
หน่วยที่ 2 ภูมิศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคมศึกษา |
|
27– 31 ธ.ค.
45
|
หน่วยที่ 3
เศรษฐศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคมศึกษา |
|
1 –6 ม.ค.
46
|
หน่วยที่ 4 ประวัติศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคม ศึกษา |
|
7 – 12 ม.ค. 46
|
หน่วยที่ 5
จริยศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคมศึกษา |
|
13 – 18 ม.ค. 46
|
หน่วยที่ 6
สังคมวิทยา – มานุษยวิทยากับ
การประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน สังคมศึกษา |
|
19 – 24 ม.ค. 46
|
หน่วยที่ 7
รัฐศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคมศึกษา |
|
25 –31 ม.ค.
46
|
หน่วยที่ 8 สิ่งแวดล้อมศึกษากับการประยุกต์ใช้ใน
การเรียนการสอนสังคมศึกษา |
สัมมนาเสริมครั้งที่ 1
1 –2 ก.พ. 2546
9.00 – 15.00 น.
|
3 – 5 ก.พ. 46
|
หน่วยที่ 9
ระบบกับการพัฒนาหลักสูตรและ
การเรียนการสอนสังคมศึกษา |
|
6 - 9 ก.พ. 46
|
หน่วยที่ 10
พลวัตของวิชาสังคมศึกษาและ
การเรียนการสอนสังคมศึกษา |
|
10 – 13 ก.พ.
46
|
หน่วยที่ 11
การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาสังคม
ศึกษา (1) |
|
14 – 17 ก.พ.
46
|
หน่วยที่ 12
การพัฒนาการเรียนการสอนวิชา
สังคมศึกษา (2) |
สัปดาห์
|
หน่วยการสอน
|
การประเมิน
|
18 – 22 ก.พ.
46
|
หน่วยที่ 13
สื่อกับการพัฒนาการเรียนการสอน
สังคมศึกษา |
|
23 – 28 ก.พ. 46
|
หน่วยที่ 14
การประเมินการเรียนการสอนวิชา
สังคมศึกษา |
|
1 - 7 มี.ค. 45
|
หน่วยที่ 15
การพัฒนาวิชาชีพครูสังคมศึกษา
|
สัมมนาเสริมครั้งที่ 2
8 – 9 มี.ค. 2546
9.00 – 15.00 น.
|
10 มี.ค. -
25 เม.ย. 46
|
เตรียมสอบปลายภาค
|
|
26 เม.ย. 45
|
สอบปลายภาค (9.00 –
12.00 น.)
|
ข้อสอบ อัตนัย 6
ข้อ
|
ตารางเรียนนี้เป็นเพียงข้อเสนอแนะ
นักศึกษาอาจปรับได้ตามความเหมาะสม โดยยึดการสัมมนาเสริม และการสอบปลายภาคเป็นหลัก
2.3 การสัมมนา
ในการเรียนชุดวิชา 22713
สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
นักศึกษาจะต้องเข้าร่วมการสัมมนาเสริม 2 ครั้ง ๆ ละ 10
ชั่วโมง ณ ศูนย์บริการการศึกษาที่มหาวิทยาลัยกำหนด และ
แจ้งให้นักศึกษาทราบ
แจ้งให้นักศึกษาทราบ
2.3.1
การสัมมนาเสริมครั้งที่
1 วันที่ 1 –2
กุมภาพันธ์ 2546 เนื้อหาของการสัมมนาเสริมจะอยู่ในหน่วยการสอนที่ 1-8 ในหัวข้อ “แนวคิดเกี่ยวกับสังคมศาสตร์และการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสังคมศึกษา”
2.3.2
การสัมมนาเสริมครั้งที่
2 วันที่ 8 -9
มีนาคม 2546 เนื้อหาของการสัมมนาเสริมจะอยู่ในหน่วยการสอนที่ 9 - 15
ในหัวข้อ “หลักสูตรกับการเรียนการสอนสังคมศึกษา”
รายละเอียดของการสัมมนาเสริมจะปรากฏในตารางของการสัมมนาเสริม
ดังนี้
ตารางการสัมมนาเสริม ภาคการศึกษาที่
2/2545
ชุดวิชา 22713 สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
ครั้งที่
|
เวลา
วัน
|
9.00 - 9.30
น.
|
9.45 - 12.00
น.
|
13.00 – 15.00
น.
|
1
|
1 ก.พ.
46
|
ปฐมนิเทศชุดวิชา
|
สัมมนาเสริม เรื่อง “แนวคิดเกี่ยวกับสังคมศาสตร์และการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสังคมศึกษา”
(ผู้สอนสรุปสาระสำคัญและนำเสนอประเด็นเพื่อให้
นักศึกษาร่วมกันอภิปราย) |
สัมมนาเสริมต่อ
|
2 ก.พ.
46
|
นักศึกษาเสนอ
ผลงานชิ้นที่ 1 |
เสนอผลงาน (ต่อ)
|
เสนอผลงาน (ต่อ)
|
|
2
|
8 มี.ค. 46
|
ผู้สอนตอบปัญหาของนักศึกษา
เกี่ยวกับการเรียนชุดวิชา และปัญหาที่เกี่ยวกับมหาวิทยาลัย |
สัมมนาเสริมเรื่อง
“หลักสูตรกับการเรียนการสอนสังคมศึกษา” |
สัมมนาเสริมต่อ
|
9 มี.ค.
46
|
นักศึกษาเสนอผลงาน
|
เสนอผลงาน (ต่อ)
|
เสนอผลงาน (ต่อ)
|
2.4 การประเมินการศึกษา
การประเมินการศึกษา
ชุดวิชา 22713 สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
จะประเมิน
ในรายละเอียดดังต่อไปนี้
ในรายละเอียดดังต่อไปนี้
2.4.1 ประเมินจากการเข้าร่วมสัมมนา และงานที่กำหนดให้ทำ ร้อยละ 40
โดยจะประเมินเป็น 2 ส่วนคือ
1) ประเมินจากการเข้าร่วมสัมมนาในรายละเอียดดังนี้
-
การมีส่วนร่วมในการอภิปรายเกี่ยวกับสาระที่ได้ศึกษาจากประมวล
สาระชุดวิชา
สาระชุดวิชา
-
ผลที่ได้จากการสัมมนาที่ส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับประเด็น
การสัมมนา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในแต่ละครั้งของ
การสัมมนาเสริม
การสัมมนา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในแต่ละครั้งของ
การสัมมนาเสริม
2) ประเมินงานที่กำหนดให้ทำ ซึ่งจะประเมินจาก
-
เนื้อหาสาระ
จะพิจารณาจากความถูกต้อง มีความคิดที่เป็นระบบ
ต่อเนื่อง รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์
ต่อเนื่อง รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์
-
การนำเสนอ
จะพิจารณาจากวิธีการนำเสนอวิธี การนำเสนอ จะต้องอยู่
ในเกณฑ์ดี การนำเสนอที่ตรงตามสาระน่าสนใจ ใช้เวลาเหมาะสมกับ
เนื้อหาสาระตามเวลาที่กำหนดให้ และการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วม
สัมมนาได้วิพากษ์วิจารณ์
ในเกณฑ์ดี การนำเสนอที่ตรงตามสาระน่าสนใจ ใช้เวลาเหมาะสมกับ
เนื้อหาสาระตามเวลาที่กำหนดให้ และการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วม
สัมมนาได้วิพากษ์วิจารณ์
2.4.2 ประเมินจากการสอบปลายภาคการศึกษาที่ 2/2545
ร้อยละ 60 โดยจะประเมินจากการสอบข้อสอบอัตนัยจำนวน 6
ข้อ
3. รายละเอียดของงาน
งานที่นักศึกษาจะต้องทำในการเรียนชุดวิชา 22713
สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาสังคมศึกษา
มีรายละเอียดดังนี้
มีรายละเอียดดังนี้
3.1 ชิ้นงาน งานที่นักศึกษาจะต้องทำมี 2
ชิ้น คือ
ชิ้นที่ 1 การสร้างสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
ขั้นตอน
1. ศึกษาปัญหา
1.1
สำรวจปัญหา
ให้สำรวจปัญหาของนักเรียนในชั้นปีที่ท่านสอน
หรือ ชั้นปีที่ท่านสนใจจะจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ โดยสำรวจปัญหาในด้าน
1) คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
2) ทักษะกระบวนการคิด
3) ทักษะทางสังคม
1.2
รายงานผลการสำรวจปัญหา โดยนำเสนอ
1) วิธีการ และ เครื่องมือในการสำรวจ
2) ผลการสำรวจ
1.3
แนวทางการพัฒนา
นำเสนอแนวทางการพัฒนา
คุณธรรมฯ ทักษะกระบวนการคิด และทักษะ
ทางสังคม ในข้อ 1.2) โดยนำเสนอ
ทางสังคม ในข้อ 1.2) โดยนำเสนอ
1) วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องของแต่ละด้าน ประมาณด้านละ 2 หน้า
2) แนวทางการพัฒนาที่ท่านเลือกในการพัฒนาแต่ละด้าน
2. การพัฒนาหลักสูตรเพื่อแก้ไขปัญหา
2.1
ศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของช่วงชั้น
ศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ของช่วงชั้นที่จะจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางในข้อ 1.3 โดยเลือกสาระหลัก และมาตรฐานการเรียนรู้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องมาจัดวางเรียงให้ครบ (มาตรฐาน ส 1.1 - 5.2)
2.2 กำหนดมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ของช่วงชั้น
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ของช่วงชั้นที่เลือกไว้ในข้อ
2.1 แล้วกำหนดเป็นมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ช่วงชั้นที่สอดคล้องกับแนวทางในข้อ 1.3
2.3 กำหนดมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ของชั้นปี
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ของช่วงชั้นที่กำหนดไว้ในข้อ
2.2 แล้วกำหนดเป็นมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ชั้นปีที่สอดคล้องกับแนวทางในข้อ 1.3
2.4 กำหนดรายวิชา
นำมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ในข้อ 2.3 มากำหนดเป็นรายวิชาระดับรายปี
/ภาคการศึกษาตามระดับชั้นที่จะจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ทั้งนี้จะต้องเป็นรายวิชาที่บูรณาการทั้ง 5
สาระหลัก โดยนำเสนอ
1) ชื่อรายวิชา
2) คำอธิบายรายวิชา
2.5 กำหนดหน่วยการเรียนของรายวิชา
ให้นำรายวิชาที่กำหนดไว้ในข้อ 2.4 มาจัดแบ่งเป็นหน่วยการเรียนแบบบูรณการ ซึ่งแต่ละหน่วยจะต้องบูรณาการ 5
สาระหลัก
โดยจะต้องมีหน่วยที่มีความยาว 6-8 คาบ อยู่ด้วย
3. นำเสนอภาคผนวก ประกอบด้วย
1)
แบบสำรวจ
2)
ผลการสำรวจ
ชิ้นที่ 2
การจัดการเรียนการสอนที่นักเรียนเป็นศูนย์กลาง
ขั้นตอน
1. เลือกหน่วยบูรณาการในงานชิ้นที่ 1
ที่ใช้ชั่วโมงการสอนประมาณ
6 - 8 คาบ
เพื่อจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ระดับหน่วย
2. นำเสนอแผนผังบูรณาการของหน่วยในข้อ 1
3. เขียนรายละเอียดของแผนการจัดการเรียนรู้ในหัวข้อต่อไปนี้
3.1 ชื่อหน่วยบูรณาการแนวคิด
3.2 จุดประสงค์
3.3 เค้าโครงเนื้อหา
3.4 กิจกรรมการเรียนการสอน โดย
1) นำนวัตกรรมการเรียนการสอนสังคมศึกษาในปัจจุบันมาใช้ในการจัดกิจกรรม
2) ระบุว่า กิจกรรมใดพัฒนา คุณธรรมฯ
ทักษะกระบวนการคิด
ทักษะสังคม
3.5 สภาพแวดล้อม โดยระบุว่าสภาพแวดล้อมใดพัฒนา คุณธรรมฯ
ทักษะกระบวนการคิด ทักษะสังคม
3.6 สื่อการสอน
โดยระบุว่าสื่อการสอนใดพัฒนา
คุณธรรมฯ ทักษะกระบวน
การคิด ทักษะสังคม
การคิด ทักษะสังคม
3.7 การประเมินผล โดยระบุว่าการประเมินผลใดพัฒนาคุณธรรมฯ ทักษะ
กระบวนการคิด ทักษะสังคม
4. นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดทำแล้ว
มาจัดทำ “Learning Package” ซึ่งประกอบด้วยแผนการสอน
แผนการเรียน สื่อกิจกรรมและแบบวัดประเมินผล
5. นำ “Learning Package” ที่จัดทำแล้วไปทดลองใช้ในสถานการณ์จริง
6. เขียนรายงานผลการทดลองใช้อย่างละเอียด
โดยนำเสนอ
1) กลุ่มตัวอย่าง
2) วิธีการ
3) ผลการทดลอง ซึ่งประกอบด้วยผลการประเมินก่อนเรียน - หลังเรียน
ของแต่ละด้าน
6. ปัญหาและข้อเสนอแนะ
หมายเหตุ จัดทำสำเนาแผนการสอนระดับหน่วย และรายงานผลการทดลองใช้ “Learning Package” มา 15
ชุด
ประกอบการสัมมนาเสริม
3.2 การส่งงาน
3.2.1 นักศึกษาจะต้องถือปฏิบัติในกำหนดการส่งงานอย่างเคร่งครัด ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1) งานชิ้นที่ 1
ส่งในวันแรกที่เข้ารับการสัมมนาเสริมครั้งที่ 1
( วันที่ 1 –2 กุมภาพันธ์ 2546)
2) งานชิ้นที่ 2
ส่งในวันแรกที่เข้ารับการสัมมนาเสริมครั้งที่ 2
( วันที่ 8 - 9 มีนาคม 2546)
3.2.2 นักศึกษาจะต้องพิมพ์งานลงในกระดาษ A4 โดยให้มีใบปะหน้าตามแบบฟอร์ม
(ดังแบบ) และสำเนางานชิ้นละ 15 ชุด โดยนำมาแจกให้นักศึกษาและอาจารย์ในกลุ่มเพื่อ
การสัมมนาเสริมแต่ละครั้ง
(ดังแบบ) และสำเนางานชิ้นละ 15 ชุด โดยนำมาแจกให้นักศึกษาและอาจารย์ในกลุ่มเพื่อ
การสัมมนาเสริมแต่ละครั้ง
3.3 การเตรียมนำเสนอผลงาน
ในการเสนอผลงานของนักศึกษาในการสัมมนาเสริมควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
3.3.1 เตรียมสิ่งที่จะนำมาประกอบการเสนอผลงาน
เช่น แผ่นใส แผนภูมิ เทปกาว
3.3.2 เตรียมประเด็นที่จะนำเสนอด้วยวาจา
และซักซ้อมล่วงหน้าภายในเวลาคนละประมาณ 30 นาที โดยมีกิจกรรมในรายละเอียดดังนี้
-
นักศึกษาเสนอผลงานคนละประมาณ 15
นาที
- ผู้เข้ารับการสัมมนาเสริม อภิปราย ซักถาม
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นประมาณ 10 นาที
-
อาจารย์ผู้สอนให้ความคิดเห็น 5
นาที
3.3.3 นักศึกษาควรเตรียมตัวเป็นอย่างดี
เพื่อตอบประเด็นคำถามที่คาดว่าอาจารย์สัมมนาเสริม และเพื่อนนักศึกษาจะซักถาม
เพื่อที่จะสามารถตอบได้อย่างคล่องแคล่ว